บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

กล้องโทรทรรศน์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

    เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโต

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

รู้ไหม?  ว่าตอนนี้มีการสำรวจอวกาศไปไกลถึงดาวเคราะห์แคระพลูโต ยานสำรวจใดที่ไปสำรวจไกลถึงขนาดนั้น สามารถติดตามได้จากด้านล่างนี้เลยยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโต

ความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางดาราศาสตร์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

“คุณคิดว่าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางตะวันตกทุกวันหรือไม่ หรือดวงอาทิตย์จะตรงศีรษะทุกวันในเวลาเที่ยงหรือไม่” หากคุณตอบว่าใช่นั่นแสดงว่าคุณกำลังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางดาราศาสตร์

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

การจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ 3 สาขา ได้แก่ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลก และปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในอวกาศ

ดาวเคราะห์อยู่ที่ใดบ้าง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

เมื่อมองท้องฟ้าในยามค่ำคืน จะเห็นดาวฤกษ์ (star) จำนวนมาก และเห็นดาวบางดวงเปลี่ยนตำแหน่งไปในท้องฟ้าเมื่อเทียบกับดาวอื่น ๆ นั่นคือ ดาวเคราะห์ (planet) หลายคนอาจเคยสงสัยว่าในเอกภพ หรืออาจจะแคบกว่านั้นคือในกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา มีดาวเคราะห์เพียง 8 ดวงเท่านี้หรือ

ชาละวัน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ข่าวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ ที่ทำให้คนไทยมีความสุข เมื่อดาวชาละวัน เป็นดาวฤกษ์ดวงแรกที่มีชื่อสามัญ เป็นชื่อแบบไทย ๆ รวมทั้งดาวตะเภาทองและตะเภาแก้วซึ่งเป็นดาวเคราะห์โคจรรอบชาละวัน ขอบคุณคนไทยที่ช่วยกัน Vote เรามาทำความรู้จักกับข้อมูลของดาวชาละวัน ตะเภาทองและตะเภาแก้ว รวมทั้งตำแหน่งของดาวชาละวันบนท้องฟ้า โดยสมาคมดาราศาสตร์ไทยได้แถลงข่าวเป็นทางการแล้ว เมื่อวันเสาร์ที่ 26 Read More.

คลื่นความโน้มถ่วง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

คลื่นความโน้มถ่วง (gravitational wave) เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงรุนแรงอย่างฉับพลัน อย่างการรวมตัวของหลุมดำ การระเบิดของดาวฤกษ์ขนาดมหึมา หรือกำเนิดเอกภพเมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน คลื่นความโน้มถ่วงสามารถหาเวลาในอดีตได้ ทำให้ทราบว่าหลังบิกแบงมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และสามารถอธิบายการ กำเนิดเอกภพตามทฤษฎีบิกแบงได้ถูกต้องตามผลสังเกตการณ์มากที่สุด คลื่นความโน้มถ่วงเป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติของเราตั้งแต่เอกภพกำเนิดขึ้น แต่ไอน์สไตน์ได้ทำนายว่าคลื่นความโน้มถ่วงมีอยู่จริงจากสมการคณิตศาสตร์เมื่อร้อยปีที่แล้ว

การสอนดาราศาสตร์ในโรงเรียน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

“อะไรเป็นแรงบันดาลใจหรือคะที่ทำให้ชอบและอยากสอน”
ดิฉันว่าเป็นเรื่องของการรักและเห็นความสำคัญของวิชาที่สอน จึงทำให้อยากที่จะเรียนรู้ และถ่ายทอดสิ่งที่รู้นั้นแก่นักเรียน หลังเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2554 ดิฉันยังช่วยสอนด้วยจิตอาสาอีก 3 ปี 6 ภาคเรียนเห็นเด็ก ๆ ประสบความสำเร็จ ได้เรียนต่อในสิ่งที่เขารักเขาชอบ ทำให้มีแรงใจ แรงกายที่จะถ่ายทอดให้พวกเขา

ระยะทางที่แสนไกล จะวัดได้อย่างไร

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

คุณผู้อ่านที่ไม่ได้เชี่ยวชาญเรื่องดาราศาสตร์ เคยสงสัยกันไหมว่านักดาราศาสตร์รู้ได้อย่างไรว่าโลกของเรามีขนาดเท่าไร ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลกเท่าไร หรือแม้กระทั่งสามารถบอกได้ด้วยว่าดวงดาวที่อยู่ไกลแสนไกลมองเห็นเป็นเพียงจุดสว่างนั้นอยู่ห่างจากโลกของเราเท่าไร พวกเขาใช้อะไรวัด (ที่แน่ ๆ คงไม่ได้ใช้ไม้เมตร หรือสายวัด)

บนท้องฟ้ามีดาวกี่ดวง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ใครที่อยู่ต่างจังหวัด ตึกรามบ้านช่องมีไม่มากนัก รวมถึงไม่ค่อยมีแสงไฟจากถนนมารบกวน ก็คงได้เต็มอิ่มกับการนอนดู “ดาวล้านดวง” บนท้องฟ้าได้ทุกวัน ผิดกับคนในเมืองที่บางคืน “ดาวสักดวง” ก็ไม่ยอมโผล่มาให้เห็น คนในเมืองจึงมักจะจินตนาการกันไม่ออกว่าบนท้องฟ้าของเรามีดาวมากมายขนาดไหน คุณผู้อ่านมีวิธีไหนบ้างที่จะช่วยคนเมืองผู้น่าสงสารเหล่านี้?

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน