บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, ธรณีวิทยา, บทความ, วิทยาศาสตร์--โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

การใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

ในประเทศไทยบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก จนถึงภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่นของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้แนวรอยต่อของแผ่นธรณีและมีรอยเลื่อนมีพลังอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนแม่ปิง รอยเลื่อนระนอง แผ่นดินไหวส่วนใหญ่นั้นเกิดจากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนทำให้เกิดการสะสมพลังงานในแผ่นเปลือกโลก และคายพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือน นักวิทยาศาสตร์จึงพยายามคิดค้นวิธีการที่จะทำนายการเกิดแผ่นดินไหว เช่น การหาคาบอุบัติซ้ำ (return period) ซึ่งก็คือช่วงเวลาเฉลี่ยระหว่างเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ในพื้นที่นั้น ๆ การคำนวณหาคาบอุบัติซ้ำทำได้โดยการขุดร่องสำรวจตามแนวรอยเลื่อนเพื่อเก็บข้อมูลของชั้นตะกอน

Happy Education to Enjoy Learning

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

เนื่องจากผู้เขียนได้รับมอบหมายจาก สสวท. ให้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 10 – 14 สิงหาคม 2559 ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการศึกษาของประเทศที่ถือว่ามีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นจึงอยากจะแบ่งปันข้อมูล และข้อคิดเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการศึกษาดูงานในครั้งนี้ให้กับผู้อ่านทุกท่านค่ะ

ตรีโกณมิติกับความลาดเอียง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “ความชัน” มักจะจินตนาการถึงพื้นที่ที่มีความสูงเปลี่ยนแปลงไปมากแต่ระยะทางแนวราบเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย เช่น ภูเขา ถนน หรือการหาความชันของกราฟที่มีความสัมพันธ์ระหว่างค่าตามแกนนอนกับแกนตั้การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นในลักษณะเดียวกัน แต่อาจมีชื่อที่ใช้เรียกแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามทางคณิตศาสตร์หมายถึงความลาดเอียง หรือศัพท์คณิตศาสตร์เรียกว่า ความชัน

การเรียนรู้วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ : ด้านธรณีวิทยา โดยใช้ตัวอย่างจริง (กิจกรรมการศึกษาตัวอย่างแร่)

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

        วิชาวิทยาศาสตร์โลก หรือ Earth Science เป็นศาสตร์ที่เรียนรู้เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับโลก ซึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย ได้กำหนดสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์โลก ไว้ในสาระที่ ๖ โลกและการเปลี่ยนแปลง โดยจะมีเนื้อหาสาระแบ่งออกได้เป็นสองส่วน Read More.

การจัดการเรียนรู้เรื่องแผ่นดินไหวด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

         แผ่นดินไหวเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งและสร้างความเสียหายรุนแรงต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการเรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผ่นดินไหว ทำให้สามารถเตรียมพร้อมรับมือกับพิบัติภัยได้ การศึกษาเกี่ยวกับแผ่นดินไหวโดยทั่วไปจะกล่าวถึง สาเหตุ กระบวนการเกิด การตรวจวัด พื้นที่เสี่ยงภัย การเฝ้าระวัง Read More.

การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, ธรณีวิทยา, บทความ

การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน

ปรากฏการณ์คลื่นทติยภูมิที่แก่นโลกชั้นใน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

การศึกษาโครงสร้างภายโลกทำได้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลายด้าน เครื่องมือหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้คือ คลื่นไหวสะเทือน(seismic wave) หรือ คลื่นที่ถ่ายทอดพลังงานผ่านตัวกลางภายในโลก คลื่นไหวสะเทือนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ คลื่นในตัวกลาง(body wave) และคลื่นพื้นผิว(surface wave)

กิจกรรมจำลองการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

       แฮรี่ เฮส ได้รับผิดชอบสำรวจทำแผนที่เพื่อประโยชน์ทางด้านการทหารเรือ และพบว่าตรงกลางของพื้นมหาสมุทรมีสันเขาเป็นแนวยาวและเชื่อมต่อกัน ต่อมาเรียกว่าเทือกสันเขาใต้สมุทร (mid-oceanic ridge) และร่องลึกก้นสมุทร (trench) จากการค้นพบนี้ทำให้เค้าเกิดความสงสัยว่า เป็นไปได้หรือไม่ว่าพื้นมหาสมุทรเกิดใหม่นั้นจะเกิดที่บริเวณแนวเทือกสันเขาใต้สมุทรเหล่านี้ เค้าจึงตั้งสมมติฐานว่าพื้นสมุทรมีการแผ่ขยายตัว Read More.

การหาอายุทางธรณีวิทยาโดยวิธี Radiocarbon Dating ด้วย Carbon14

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

อายุทางธรณีวิทยา หมายถึง อายุของแร่ ตะกอน หิน ซากดึกดาบรรพ์ รวมถึงลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และรวมถึงอายุของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางธรณีวิทยา อายุทางธรณีวิทนาแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ อายุเปรียบเทียบ (relative age) และอายุสัมบูรณ์ (absolute age)
อายุเปรียบเทียบ เป็นอายุที่ได้จากการศึกษาหลักฐานความสัมพันธ์ของชั้นหิน ชั้นตะกอน โครงสร้างของหินในภาคสนาม และซากดึกดาบรรพ์ในชั้นหิน แล้วนามาเปรียบเทียบว่าสิ่งไหนมีอายุมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน โดยอาศัยหลักการวางตัวซ้อนทับที่ว่าลาดับชั้นหินที่ไม่ถูกรบกวนจากกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลังนั้น หินที่วางตัวอยู่ด้านบนจะมีอายุน้อยกว่าชั้นหินที่วางตัวอยู่ด้านล่าง

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน