บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ทำไมน้ำทะเลถึงเค็ม ?

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

มนุษย์แบ่งห้วงน้ำขนาดใหญ่ของโลกออกเป็นมหาสมุทรทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรอาร์คติก และมหาสมุทรใต้ หากนำน้ำจากทุกมหาสมุทรมารวมกัน โลกเราจะมีน้ำมากถึง 1,338,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ในน้ำทะเลปริมาณมหาศาลนี้มีแร่ธาตุจำนวนมากละลายอยู่ แร่ธาตุหลักที่ทำให้น้ำเค็มคือโซเดียมและคลอไรด์ ซึ่งก็คือเกลือที่เราใช้ปรุงอาหารนั่นเอง

กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, บทความ, บรรยากาศ

จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

ร่องมรสุมกับผลกระทบต่อประเทศไทย

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมของทุกปี ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนตกชุกเกือบทุกภูมิภาค ถ้าสังเกตคำพยากรณ์จะพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีปริมาณฝนตกชุกหนาแน่น เป็นเพราะพื้นที่ดังกล่าวถูกปกคลุมด้วยร่องมรสุมและหย่อมความกดอากาศต่ำ ในบางช่วงอาจมีอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อนเข้ามาสมทบอีกด้วย หลายคนคงได้ยินคำศัพท์ทั้งสองคำจนชินหูแล้ว แต่ถ้าให้อธิบายก็คงนิ่งไปตาม ๆ กัน ดังนั้นเราควรมารู้จักความหมาย และอิทธิพลต่อสภาพอากาศของสิ่งเหล่านี้

ลักษณะพื้นผิวโลกเปลี่ยนไปก็มีผลต่ออุณหภูมิอากาศนะเธอ !!

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

  เคยสังเกตมั้ยว่าบางครั้งเมื่อเดินผ่านสนามหญ้าผ่านมายังถนนคอนกรีตที่อยู่ถัดกันมาเพียงเล็กน้อย เรากลับรู้สึกถึงความร้อนที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ที่เป็นเช่นนั้นเพราะวัสดุเหล่านี้มีคุณสมบัติในการสะท้อน ดูดกลืน และเก็บความร้อนต่างกัน เช่นเดียวกับพื้นผิวโลก ขั้วโลกที่มีหิมะปกคลุม ทะเลทราย ป่าดงดิบ แต่ละพื้นผิวมีค่าการสะท้อนรังสีที่แตกต่างกัน 

ทำไมขั้วโลกจึงหนาวกว่าบ้านเรา?

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

หากสังเกตดูจะพบว่าประเทศที่มีอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยต่ำกว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที่อยู่ในตำแหน่งละติจูดสูงขึ้นไปหรืออยู่ต่ำจากบริเวณศูนย์สูตร นักวิทยาศาสตร์พบว่าตำแหน่งละติจูดมีผลต่ออุณหภูมิอากาศ เนื่องด้วยโลกมีลักษณะเป็นทรงกลม

อากาศประเทศไทยกับเอลนีโญ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

         โดยทั่วไปลมค้าที่พัดอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกจะพัดในทิศตะวันออกเฉียงเหนือในบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตร และจะพัดในทิศตะวันออกเฉียงใต้ทางตอนล่างของเส้นศูนย์สูตร ส่งผลให้พัดมวลน้ำที่มีอุณหภูมิอุ่นกว่างบริเวณอื่นมาทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก    อ่านต่อ => อากาศกับเอลนีโญ

สีของเมฆ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ในช่วงวันหนึ่ง ๆ คนเราอาจเห็นเมฆด้วยกันหลายครั้ง แต่จะมีใครสังเกตุหรือไม่ว่า ในเมฆก้อนเดียวกัน อาจมีทั้งสีขาว เทา หรือแม้แต่ส้มได้ กล่าวมาถึงตรงนี้คงเริ่มสงสัยกันแล้วใช่มั้ยคะว่าอะไรทำให้เกิดสีในเมฆและอะไรทำให้สีเมฆแตกต่างกันไป

ความชื้นสัมพัทธ์กับฤดูกาล

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

เพราะเหตุใดความชื้นสัมพัทธ์ในฤดูหนาวจึงสูงกว่าในฤดูร้อน ทั้ง ๆ ที่ความรู้สึกเหมือนว่าฤดูหนาวผิวเราแห้ง และแตกมากกว่าฤดูร้อน

รุ้ง (Rainbow)

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ในช่วงฤดูฝนเรามักจะเห็นรุ้งปรากฏอยู่เสมอหลังฝนตกใหม่ ๆ จนเป็นปกติ หากจะนำมาเชื่อมโยงกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ก็สามารถอธิบายได้ไม่ยากนัก ผู้เขียนหยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมานำเสนอเ

คลื่นความร้อน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, บทความ, บรรยากาศ

ใกล้ถึงเดือนเมษายนซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อากาศในหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีอากาศร้อนถึงร้อนจัด หลายพื้นอาจมีลมกระโชกแรง พายุฝนฟ้าคะนองและหากมีความรุนแรงมากอาจมีลูกเห็บตกทำความเสียหายให้กับบ้านเรือน ในสภาพอากาศร้อนแบบนี้อาจมีหลายคนที่ทนต่อสภาพอากาศร้อนระอุไม่ได้เป็นลมแดด (heat stroke) กันไปหลายราย

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน