บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

กล้องโทรทรรศน์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

    เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ทำไมน้ำทะเลถึงเค็ม ?

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

มนุษย์แบ่งห้วงน้ำขนาดใหญ่ของโลกออกเป็นมหาสมุทรทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรอาร์คติก และมหาสมุทรใต้ หากนำน้ำจากทุกมหาสมุทรมารวมกัน โลกเราจะมีน้ำมากถึง 1,338,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ในน้ำทะเลปริมาณมหาศาลนี้มีแร่ธาตุจำนวนมากละลายอยู่ แร่ธาตุหลักที่ทำให้น้ำเค็มคือโซเดียมและคลอไรด์ ซึ่งก็คือเกลือที่เราใช้ปรุงอาหารนั่นเอง

การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, ธรณีวิทยา, บทความ, วิทยาศาสตร์--โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

ยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโต

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

รู้ไหม?  ว่าตอนนี้มีการสำรวจอวกาศไปไกลถึงดาวเคราะห์แคระพลูโต ยานสำรวจใดที่ไปสำรวจไกลถึงขนาดนั้น สามารถติดตามได้จากด้านล่างนี้เลยยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโต

กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, บทความ, บรรยากาศ

จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

ความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางดาราศาสตร์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

“คุณคิดว่าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางตะวันตกทุกวันหรือไม่ หรือดวงอาทิตย์จะตรงศีรษะทุกวันในเวลาเที่ยงหรือไม่” หากคุณตอบว่าใช่นั่นแสดงว่าคุณกำลังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางดาราศาสตร์

ร่องมรสุมกับผลกระทบต่อประเทศไทย

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมของทุกปี ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนตกชุกเกือบทุกภูมิภาค ถ้าสังเกตคำพยากรณ์จะพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีปริมาณฝนตกชุกหนาแน่น เป็นเพราะพื้นที่ดังกล่าวถูกปกคลุมด้วยร่องมรสุมและหย่อมความกดอากาศต่ำ ในบางช่วงอาจมีอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อนเข้ามาสมทบอีกด้วย หลายคนคงได้ยินคำศัพท์ทั้งสองคำจนชินหูแล้ว แต่ถ้าให้อธิบายก็คงนิ่งไปตาม ๆ กัน ดังนั้นเราควรมารู้จักความหมาย และอิทธิพลต่อสภาพอากาศของสิ่งเหล่านี้

การใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

ในประเทศไทยบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก จนถึงภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่นของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้แนวรอยต่อของแผ่นธรณีและมีรอยเลื่อนมีพลังอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนแม่ปิง รอยเลื่อนระนอง แผ่นดินไหวส่วนใหญ่นั้นเกิดจากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนทำให้เกิดการสะสมพลังงานในแผ่นเปลือกโลก และคายพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือน นักวิทยาศาสตร์จึงพยายามคิดค้นวิธีการที่จะทำนายการเกิดแผ่นดินไหว เช่น การหาคาบอุบัติซ้ำ (return period) ซึ่งก็คือช่วงเวลาเฉลี่ยระหว่างเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ในพื้นที่นั้น ๆ การคำนวณหาคาบอุบัติซ้ำทำได้โดยการขุดร่องสำรวจตามแนวรอยเลื่อนเพื่อเก็บข้อมูลของชั้นตะกอน

ลักษณะพื้นผิวโลกเปลี่ยนไปก็มีผลต่ออุณหภูมิอากาศนะเธอ !!

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

  เคยสังเกตมั้ยว่าบางครั้งเมื่อเดินผ่านสนามหญ้าผ่านมายังถนนคอนกรีตที่อยู่ถัดกันมาเพียงเล็กน้อย เรากลับรู้สึกถึงความร้อนที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ที่เป็นเช่นนั้นเพราะวัสดุเหล่านี้มีคุณสมบัติในการสะท้อน ดูดกลืน และเก็บความร้อนต่างกัน เช่นเดียวกับพื้นผิวโลก ขั้วโลกที่มีหิมะปกคลุม ทะเลทราย ป่าดงดิบ แต่ละพื้นผิวมีค่าการสะท้อนรังสีที่แตกต่างกัน 

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

การจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ 3 สาขา ได้แก่ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลก และปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในอวกาศ

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน