บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลของนาซาหาเป้าหมายที่เป็นไปได้ในแถบคอยเปอร์ สำหรับภารกิจของยานสำรวจอวกาศนิวฮอไรซันส์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

มันเป็นเหมือนการงมเข็มในมหาสมุทร เนื่องจากวัตถุหลีกเร้นเหล่านี้มีขนาดเล็กมาก จาง และยากที่จะเลือกออกมาจากดวงดาวในพื้นหลังที่มีมากมายมหาศาล

โดย สำนักงานใหญ่ขององค์การนาซา วอชิงตัน ดี ซี สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ บัลติมอร์ แมรีแลนด์ ตีพิมพ์เมื่อ 16 ตุลาคม 2557

ทำความรู้จักกับกาแล็กซีชนิดกังหัน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

กาแล็กซีชนิดกังหัน (spiral galaxy) ซึ่งเป็นกาแล็กซีที่มีมากถึง 75% – 85% ในเอกภพ (universe) เป็นกาแล็กซีประเภทหนึ่งที่เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้ศึกษาและจัดกลุ่มเอาไว้ตามแผนภาพส้อมเสียงของฮับเบิล (Hubble tuning fork diagram) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1926 (ดูภาพ 1.) และแผนภาพดังกล่าวยังคงใช้กันเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าจะมีนักวิทยาศาสตร์หลายคนได้พยายามเพิ่มรายละเอียดประเภทของกาแล็กซีเข้าไปเพื่อให้สามารถตอบโจทย์กาแล็กซีที่พวกเขาพบ แต่โดยพื้นฐานแล้ววิธีจัดประเภทต่าง ๆ เหล่านั้นก็ยังคงอาศัยหลักการของฮับเบิลอยู่นั่นเอง

จำลองภาพวัตถุบนท้องฟ้าจากกล้องโทรทรรศน์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ในปัจจุบันมีเว็บไซต์หลายเว็บไซต์ที่ให้บริการจำลองขนาดของภาพวัตถุบนท้องฟ้าที่เห็นจากกล้องโทรทรรศน์ โดยเว็บไซต์ที่จะแนะนำให้รู้จักที่นี้ มี URL http://www.12dstring.me.uk/foveyepiece.php#

แนะนำ NASA App

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ปัจจุบันมี application บนมือถือหรือ tablet ออกมามากมายที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่เราในการเรียนรู้วิทยาการในสาขาต่าง ๆ หนึ่งใน  application  นั้นเป็น application  ที่สามารถ download  มาใช้ได้ฟรี เป็น application Read More.

เรื่องที่คุณยังไม่รู้เกี่ยวกับดวงจันทร์ ตอนที่1

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

แสงสว่างสุกใสของดวงจันทร์เต็มดวงที่สะท้อนมายังโลก ช่างสวยงามและดึงดูดใจยิ่งนัก  เราทราบกันดีว่า ดวงจันทร์เต็มดวง (full moon) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับโลกและดวงอาทิตย์ (ดู ภาพ 1.1) ซึ่งทำให้หน้าของดวงจันทร์สะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ได้ทั้งหมด คุณอาจคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมดา แต่แท้จริงแล้วดวงจันทร์ซ่อนความลับเอาไว้มากมายที่คุณอาจไม่เคยรู้  มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง     Read More.

ชื่อชนิดของกล้องโทรทรรศน์บอกอะไรเราบ้าง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์

       เมื่อสำรวจตลาดกล้องโทรทรรศน์ทั้งในไทยและเทศจะพบว่ามีกล้องโทรทรรศน์อยู่หลากหลายชนิด ชื่อแปลก ๆ ไม่คุ้นหูกันก็มีใช่น้อย  จริง ๆ แล้วชื่อของกล้องโทรทรรศน์แต่ละประเภทบอกอะไรเราบ้าง มาลองทำความคุ้นเคยกับชื่อเหล่านี้กันดีกว่า

การดูดาวให้เป็น สนุก น่าสนใจและได้ความรู้

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์

การดูดาวให้เป็นคือการรู้จักท้องฟ้าและดวงดาวที่อยู่บนท้องฟ้าของประเทศไทย  โดยเฉพาะดาวที่ปรากฏสว่างมากๆ และกลุ่มดาวเด่นๆ  ตระหนักว่าโลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดปรากฏการณ์ขึ้นตกของดวงดาว  ทำให้เกิดทิศ  ทำให้เกิดกลางวันกลางคืน  ส่วนโลกเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ทำให้เห็นดาวขึ้นเร็วทุกวัน วันละประมาณ 4 นาที  หรือเดือนละ 2 ชั่วโมง  บนท้องฟ้ามีดาวที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อวัน  และคนไทยตั้งชื่อเดือนสุริยคติตามชื่อกลุ่มดาวจักรราศี  Read More.

การนำโปรแกรม Stellarium มาใช้ประกอบการสอน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

เมื่อกล่าวถึงดาราศาสตร์ทุกคนคงทราบกันดีว่า เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงสิ่งที่อยู่ภายนอกโลก แต่น้อยคนนักจะทราบเชิงลึกลงไปในรายละเอียดว่าแท้จริงแล้วเราศึกษาอะไรบ้าง แม้ว่าการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ ในต่างประเทศจะเป็นที่นิยม   แต่กลับพบว่าในประเทศไทยยังมีผู้ที่ศึกษาทางด้านดาราศาสตร์อยู่น้อยคนนัก

ดาวหางแพนสตาร์ส (C/2011 L4)

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ผู้เขียน: นิพนธ์ ทรายเพชร  บทคัดย่อ ดาวหางแพนสตาร์ส มีชื่อตามกล้องโทรทรรศน์ที่บันทึกภาพดาวหางดวงนี้ได้เป็นครั้งแรกเมื่อ 6 มิถุนายน 2554 คําเต็มของ Pan-STARRS คือ Panoramic Survey Telescope And Rapid Response System Read More.

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน