บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

Happy Education to Enjoy Learning

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

เนื่องจากผู้เขียนได้รับมอบหมายจาก สสวท. ให้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 10 – 14 สิงหาคม 2559 ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการศึกษาของประเทศที่ถือว่ามีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นจึงอยากจะแบ่งปันข้อมูล และข้อคิดเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการศึกษาดูงานในครั้งนี้ให้กับผู้อ่านทุกท่านค่ะ

ทำไมขั้วโลกจึงหนาวกว่าบ้านเรา?

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

หากสังเกตดูจะพบว่าประเทศที่มีอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยต่ำกว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที่อยู่ในตำแหน่งละติจูดสูงขึ้นไปหรืออยู่ต่ำจากบริเวณศูนย์สูตร นักวิทยาศาสตร์พบว่าตำแหน่งละติจูดมีผลต่ออุณหภูมิอากาศ เนื่องด้วยโลกมีลักษณะเป็นทรงกลม

ตรีโกณมิติกับความลาดเอียง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “ความชัน” มักจะจินตนาการถึงพื้นที่ที่มีความสูงเปลี่ยนแปลงไปมากแต่ระยะทางแนวราบเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย เช่น ภูเขา ถนน หรือการหาความชันของกราฟที่มีความสัมพันธ์ระหว่างค่าตามแกนนอนกับแกนตั้การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นในลักษณะเดียวกัน แต่อาจมีชื่อที่ใช้เรียกแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามทางคณิตศาสตร์หมายถึงความลาดเอียง หรือศัพท์คณิตศาสตร์เรียกว่า ความชัน

ดาวเคราะห์อยู่ที่ใดบ้าง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

เมื่อมองท้องฟ้าในยามค่ำคืน จะเห็นดาวฤกษ์ (star) จำนวนมาก และเห็นดาวบางดวงเปลี่ยนตำแหน่งไปในท้องฟ้าเมื่อเทียบกับดาวอื่น ๆ นั่นคือ ดาวเคราะห์ (planet) หลายคนอาจเคยสงสัยว่าในเอกภพ หรืออาจจะแคบกว่านั้นคือในกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา มีดาวเคราะห์เพียง 8 ดวงเท่านี้หรือ

การเรียนรู้วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ : ด้านธรณีวิทยา โดยใช้ตัวอย่างจริง (กิจกรรมการศึกษาตัวอย่างแร่)

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

        วิชาวิทยาศาสตร์โลก หรือ Earth Science เป็นศาสตร์ที่เรียนรู้เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับโลก ซึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย ได้กำหนดสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์โลก ไว้ในสาระที่ ๖ โลกและการเปลี่ยนแปลง โดยจะมีเนื้อหาสาระแบ่งออกได้เป็นสองส่วน Read More.

ชาละวัน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ข่าวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ ที่ทำให้คนไทยมีความสุข เมื่อดาวชาละวัน เป็นดาวฤกษ์ดวงแรกที่มีชื่อสามัญ เป็นชื่อแบบไทย ๆ รวมทั้งดาวตะเภาทองและตะเภาแก้วซึ่งเป็นดาวเคราะห์โคจรรอบชาละวัน ขอบคุณคนไทยที่ช่วยกัน Vote เรามาทำความรู้จักกับข้อมูลของดาวชาละวัน ตะเภาทองและตะเภาแก้ว รวมทั้งตำแหน่งของดาวชาละวันบนท้องฟ้า โดยสมาคมดาราศาสตร์ไทยได้แถลงข่าวเป็นทางการแล้ว เมื่อวันเสาร์ที่ 26 Read More.

คลื่นความโน้มถ่วง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

คลื่นความโน้มถ่วง (gravitational wave) เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงรุนแรงอย่างฉับพลัน อย่างการรวมตัวของหลุมดำ การระเบิดของดาวฤกษ์ขนาดมหึมา หรือกำเนิดเอกภพเมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน คลื่นความโน้มถ่วงสามารถหาเวลาในอดีตได้ ทำให้ทราบว่าหลังบิกแบงมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และสามารถอธิบายการ กำเนิดเอกภพตามทฤษฎีบิกแบงได้ถูกต้องตามผลสังเกตการณ์มากที่สุด คลื่นความโน้มถ่วงเป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติของเราตั้งแต่เอกภพกำเนิดขึ้น แต่ไอน์สไตน์ได้ทำนายว่าคลื่นความโน้มถ่วงมีอยู่จริงจากสมการคณิตศาสตร์เมื่อร้อยปีที่แล้ว

อากาศประเทศไทยกับเอลนีโญ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

         โดยทั่วไปลมค้าที่พัดอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกจะพัดในทิศตะวันออกเฉียงเหนือในบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตร และจะพัดในทิศตะวันออกเฉียงใต้ทางตอนล่างของเส้นศูนย์สูตร ส่งผลให้พัดมวลน้ำที่มีอุณหภูมิอุ่นกว่างบริเวณอื่นมาทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก    อ่านต่อ => อากาศกับเอลนีโญ

การจัดการเรียนรู้เรื่องแผ่นดินไหวด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

         แผ่นดินไหวเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งและสร้างความเสียหายรุนแรงต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการเรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผ่นดินไหว ทำให้สามารถเตรียมพร้อมรับมือกับพิบัติภัยได้ การศึกษาเกี่ยวกับแผ่นดินไหวโดยทั่วไปจะกล่าวถึง สาเหตุ กระบวนการเกิด การตรวจวัด พื้นที่เสี่ยงภัย การเฝ้าระวัง Read More.

การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, ธรณีวิทยา, บทความ

การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน