บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

Posts Tagged ‘ดาราศาสตร์’

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

การจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ 3 สาขา ได้แก่ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลก และปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในอวกาศ

ชาละวัน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ข่าวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ ที่ทำให้คนไทยมีความสุข เมื่อดาวชาละวัน เป็นดาวฤกษ์ดวงแรกที่มีชื่อสามัญ เป็นชื่อแบบไทย ๆ รวมทั้งดาวตะเภาทองและตะเภาแก้วซึ่งเป็นดาวเคราะห์โคจรรอบชาละวัน ขอบคุณคนไทยที่ช่วยกัน Vote เรามาทำความรู้จักกับข้อมูลของดาวชาละวัน ตะเภาทองและตะเภาแก้ว รวมทั้งตำแหน่งของดาวชาละวันบนท้องฟ้า โดยสมาคมดาราศาสตร์ไทยได้แถลงข่าวเป็นทางการแล้ว เมื่อวันเสาร์ที่ 26 Read More.

คลื่นความโน้มถ่วง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

คลื่นความโน้มถ่วง (gravitational wave) เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงรุนแรงอย่างฉับพลัน อย่างการรวมตัวของหลุมดำ การระเบิดของดาวฤกษ์ขนาดมหึมา หรือกำเนิดเอกภพเมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน คลื่นความโน้มถ่วงสามารถหาเวลาในอดีตได้ ทำให้ทราบว่าหลังบิกแบงมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และสามารถอธิบายการ กำเนิดเอกภพตามทฤษฎีบิกแบงได้ถูกต้องตามผลสังเกตการณ์มากที่สุด คลื่นความโน้มถ่วงเป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติของเราตั้งแต่เอกภพกำเนิดขึ้น แต่ไอน์สไตน์ได้ทำนายว่าคลื่นความโน้มถ่วงมีอยู่จริงจากสมการคณิตศาสตร์เมื่อร้อยปีที่แล้ว

แนะนำ NASA App

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ปัจจุบันมี application บนมือถือหรือ tablet ออกมามากมายที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่เราในการเรียนรู้วิทยาการในสาขาต่าง ๆ หนึ่งใน  application  นั้นเป็น application  ที่สามารถ download  มาใช้ได้ฟรี เป็น application Read More.

เรื่องที่คุณยังไม่รู้เกี่ยวกับดวงจันทร์ ตอนที่1

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

แสงสว่างสุกใสของดวงจันทร์เต็มดวงที่สะท้อนมายังโลก ช่างสวยงามและดึงดูดใจยิ่งนัก  เราทราบกันดีว่า ดวงจันทร์เต็มดวง (full moon) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับโลกและดวงอาทิตย์ (ดู ภาพ 1.1) ซึ่งทำให้หน้าของดวงจันทร์สะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ได้ทั้งหมด คุณอาจคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมดา แต่แท้จริงแล้วดวงจันทร์ซ่อนความลับเอาไว้มากมายที่คุณอาจไม่เคยรู้  มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง     Read More.

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน