บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

กิจกรรมที่ วทร.

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ลมฟ้าอากาศถือว่าเป็นเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเดินทาง การท่องเที่ยว การเกษตร การประมง มลภาวะ ฯลฯ ในต่างประเทศ ถือว่าด้านนี้เป็นวิชาหลักวิชาหนึ่งที่นักเรียนต้องศึกษา หรือแม้แต่ประชาชนทั่วไปจำเป็นต้องมีความรู้เบื้องต้นและรู้จักวิธีการติดตามลมฟ้าอากาศ เพื่อให้สามารถเตรียมความพร้อมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศหรือภูมิอากาศในปัจจุบันหรืออนาคตได้

เมฆและการเกิดเมฆ ตอนที่ 1

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่า เมฆบนท้องฟ้านั้นแค่ดูผิวเผินก็น่าสนใจแล้ว เพราะมีความแตกต่างทั้งรูปร่าง และสีสัน ซึ่งความแตกต่างเหล่านั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดเมฆ ดังจะกล่าวต่อไปนี้

มาหลบฝนกันเถอะ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ถึงจะเลยหน้าฝนไปแล้วแต่หลาย ๆ ที่ของประเทศยังคงมีฝนตกอยู่ โดยเฉพาะทางภาคใต้ยังคงมีฝนตกในช่วงที่เกิดมรสุมกำลังแรงอยู่บ่อยครั้ง คงจะดีไม่น้อยหากเราสามารถทราบได้ว่าขณะนั้นมีกลุ่มของหยาดน้ำฟ้าปกคลุมบริเวณที่อยู่ของเราหรือไม่ และอาจคาดการณ์ได้ว่าแนวโน้มจะเป็นเช่นไร จะเคลื่อนผ่านไปเมื่อไร หรือจะตกอยู่เหนือบ้านเราเป็นเวลานาน ฝนจะตกหนักหรือแค่ปรอยๆ วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับเครื่องมือที่สามารถไขข้อข้องใจของเราได้ค่ะ

เมฆและการเกิดเมฆ2

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

จากบทความเมฆและการเกิดเมฆตอนที่ 1 ได้ อธิบายเกี่ยวกับการเกิดเมฆเนื่องจากการยกตัวของอากาศเมื่อไม่มีแรงใด ๆ มากระทำซึ่งหมายถึงอากาศยกตั วขึ้นไปถึงระดั บควบแน่นได้ เนื่องจากได้รั บพลังงานความร้อน แต่ในบาง ครั้ งถ้าอากาศมีเสถียรภาพมากอาจพบเมฆน้อยมากในบริเวณนั้ น ๆ ยกเว้นมี แรงอื่นมาช่วย ส่งเสริมให้อากาศยกตัว ดังจะกล่าวต่อไปนี้

เอลนีโญ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “เอลนีโญ” หลายคนอาจจะสงสัยว่าคืออะไร แล้วส่งผลอะไรกับเราบ้างเอลนีโญเป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติของอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของลมในบรรยากาศและการไหลเวียนของน้ำในมหาสมุทร เราสามารถอธิบายอย่างง่ายๆได้ดังต่อไป

วิวัฒนาการของบรรยากาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

อากาศที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยแก๊สต่าง ๆ รวมถึงออกซิเจนที่เราใช้ในการหายใจ อากาศทั้งหมดจะมีแก๊สไนโตรเจนคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 78 เปอร์เซ็นต์ แก๊สออกซิเจนอยู่ประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือจะเป็นแก๊สอื่น ๆ แก๊สต่าง ๆ เหล่านี้มีวิวัฒนาการตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลาซึ่งในทางธรณีวิทยาเรียกว่า ธรณีกาล Read More.

ฤดูร้อนกับลูกเห็บ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บรรยากาศ

ช่วงฤดูร้อนของเรามักจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับภัยธรรมชาติท าความเสียหายกับบ้านพักอาศัยหรือสิ่งปลูกสร้างสาธารณะ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก “ลมกระโชก” มิใช่ “ลมกรรโชก” ค าว่า “กรรโชก” ซึ่งเป็นการขู่ด้วยกริยา มักได้ยินกับการกรรโชกทรัพย์ แต่ค าว่า “ลมกระโชก” ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายถึง ลมแรงที่เกิดในทันทีทันใดชั่วขณะหนึ่งหรือลมที่พัดแรงเป็นพัก Read More.

รู้ทันฟ้าฝน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บรรยากาศ

จากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในประเทศไทย ปี 2554 หลายคนคงรำพึงรำพันว่า เกิดมาเกือบทั้งชีวิตไม่เคยเห็นน้ำท่วมมากมายอย่างนี้มาก่อน ท้องถิ่นใดที่ไม่เคยท่วมก็ได้รับผลกระทบอย่างแสนสาหัส เหตุการณ์ครั้งนี้คงทำให้คนไทยเริ่มตระหนักแล้วว่า เราจะ นิ่งนอนใจกับภัยธรรมชาติไม่ได้อีกต่อไป

สงกรานต์กับเรื่องร้อนๆ ของอากาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เป็นวิชาที่ประกอบด้วยศาสตร์ถึง 3 ศาสตร์ คือ ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา และบรรยากาศ รายวิชานี้จะช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับปราฏการณ์ทั้งในโลก และนอกโลก อีกทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่อยู่รอบตัวไม่ว่าจะเป็นดิน น้ำ ลม และอากาศ ดั้งนั้นถ้าจะถามว่ารายวิชานี้จะช่วยในการเรียนรู้อะไรบ้างในวันสงกรานต์ Read More.

ก้าวไกลไปกับสื่อการเรียนการสอน สสวท.

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ผู้เขียน: ฤทัย เพลงวัฒนา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.)  เน้นส่งเสริมให้โรงเรียนจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการทดลองต่างๆ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนช่วยในการเสริมสร้างองค์ความรู้ ด้วยเหตุ นี้ สสวท. จึงพยายาม พัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและราคาถูก เพื่อให้สามารถนำไปใช้ ในโรงเรียนได้อย่างทั่วถึง และสามารถนำไปสำรวจตรวจสอบข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน