บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

บทความเกมวัฏจักรหิน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

หินที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลกทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร มีกระบวนการ เกิดหมุนเวียนเป็นวัฏจักร หินอัคนีเกิดจากกระบวนการเย็นตัวของหินหนืด เมื่อหินหนืดแทรกดันตัวขึ้นสู่ผิว โลก หินตะกอนเกิดจากกระบวนการผุพัง กัดกร่อน สะสมตัว Read More.

รอบรู้เรื่องแผ่นดินไหว

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

       เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 Mw (แมกนิจูดโมเมนต์) ที่ ความลึกจากผิวดินประมาณ 7 กิโลเมตร Read More.

กิจกรรมแผนที่ภูมิประเทศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

         เส้นโค้ง ๆ จำนวนมากที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ภูมิประทศ เรียกว่า เส้นชั้นความสูง (contour line) ซึ่ง เป็นเส้นที่ใช้บอกระดับความสูงของพื้นที่เกิดจากการลากเส้นเชื่อมต่อจุดที่มีค่าความสูงเท่ากันโดยอ้างอิงจาก ระดับน้ำทะเลปานกลาง (ค่าที่ได้จากการวัดระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดและลงตํ่าสุดของแต่ละวันในช่วงระยะเวลา Read More.

ประเทศไทยกับน้ำท่วม

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

ผู้เขียน: ฤทัย เพลงวัฒนา นักวิชาการ พอกล่าวถึงน้ำท่วม ถ้าเป็นสมัยก่อนคนไทยคงไม่ตื่นกลัวกันมากนัก โดยเฉพาะบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ หรืออยู่ใกล้ทะเล เพราะสามารถเกิดน้ำท่วมจากน้ำทะเลหนุน หรือน้ำล้นตลิ่งได้อยู่เสมอ  แต่ก็จะแห้งไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว และไม่ได้สร้างความเสียหาย ในบริเวณกว้างดังเช่นเหตุการณ์ ที่เกิดในปี พ.ศ. 2554  

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน