บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

วิวัฒนาการของบรรยากาศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

อากาศที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยแก๊สต่าง ๆ รวมถึงออกซิเจนที่เราใช้ในการหายใจ อากาศทั้งหมดจะมีแก๊สไนโตรเจนคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 78 เปอร์เซ็นต์ แก๊สออกซิเจนอยู่ประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือจะเป็นแก๊สอื่น ๆ แก๊สต่าง ๆ เหล่านี้มีวิวัฒนาการตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลาซึ่งในทางธรณีวิทยาเรียกว่า ธรณีกาล Read More.

เรื่องที่คุณยังไม่รู้เกี่ยวกับดวงจันทร์ ตอนที่1

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

แสงสว่างสุกใสของดวงจันทร์เต็มดวงที่สะท้อนมายังโลก ช่างสวยงามและดึงดูดใจยิ่งนัก  เราทราบกันดีว่า ดวงจันทร์เต็มดวง (full moon) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับโลกและดวงอาทิตย์ (ดู ภาพ 1.1) ซึ่งทำให้หน้าของดวงจันทร์สะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ได้ทั้งหมด คุณอาจคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมดา แต่แท้จริงแล้วดวงจันทร์ซ่อนความลับเอาไว้มากมายที่คุณอาจไม่เคยรู้  มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง     Read More.

บทความเกมวัฏจักรหิน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

หินที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลกทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร มีกระบวนการ เกิดหมุนเวียนเป็นวัฏจักร หินอัคนีเกิดจากกระบวนการเย็นตัวของหินหนืด เมื่อหินหนืดแทรกดันตัวขึ้นสู่ผิว โลก หินตะกอนเกิดจากกระบวนการผุพัง กัดกร่อน สะสมตัว Read More.

รอบรู้เรื่องแผ่นดินไหว

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

       เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 Mw (แมกนิจูดโมเมนต์) ที่ ความลึกจากผิวดินประมาณ 7 กิโลเมตร Read More.

กิจกรรมแผนที่ภูมิประเทศ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

         เส้นโค้ง ๆ จำนวนมากที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ภูมิประทศ เรียกว่า เส้นชั้นความสูง (contour line) ซึ่ง เป็นเส้นที่ใช้บอกระดับความสูงของพื้นที่เกิดจากการลากเส้นเชื่อมต่อจุดที่มีค่าความสูงเท่ากันโดยอ้างอิงจาก ระดับน้ำทะเลปานกลาง (ค่าที่ได้จากการวัดระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดและลงตํ่าสุดของแต่ละวันในช่วงระยะเวลา Read More.

ชื่อชนิดของกล้องโทรทรรศน์บอกอะไรเราบ้าง

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์

       เมื่อสำรวจตลาดกล้องโทรทรรศน์ทั้งในไทยและเทศจะพบว่ามีกล้องโทรทรรศน์อยู่หลากหลายชนิด ชื่อแปลก ๆ ไม่คุ้นหูกันก็มีใช่น้อย  จริง ๆ แล้วชื่อของกล้องโทรทรรศน์แต่ละประเภทบอกอะไรเราบ้าง มาลองทำความคุ้นเคยกับชื่อเหล่านี้กันดีกว่า

การดูดาวให้เป็น สนุก น่าสนใจและได้ความรู้

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์

การดูดาวให้เป็นคือการรู้จักท้องฟ้าและดวงดาวที่อยู่บนท้องฟ้าของประเทศไทย  โดยเฉพาะดาวที่ปรากฏสว่างมากๆ และกลุ่มดาวเด่นๆ  ตระหนักว่าโลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดปรากฏการณ์ขึ้นตกของดวงดาว  ทำให้เกิดทิศ  ทำให้เกิดกลางวันกลางคืน  ส่วนโลกเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ทำให้เห็นดาวขึ้นเร็วทุกวัน วันละประมาณ 4 นาที  หรือเดือนละ 2 ชั่วโมง  บนท้องฟ้ามีดาวที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อวัน  และคนไทยตั้งชื่อเดือนสุริยคติตามชื่อกลุ่มดาวจักรราศี  Read More.

ฤดูร้อนกับลูกเห็บ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บรรยากาศ

ช่วงฤดูร้อนของเรามักจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับภัยธรรมชาติท าความเสียหายกับบ้านพักอาศัยหรือสิ่งปลูกสร้างสาธารณะ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก “ลมกระโชก” มิใช่ “ลมกรรโชก” ค าว่า “กรรโชก” ซึ่งเป็นการขู่ด้วยกริยา มักได้ยินกับการกรรโชกทรัพย์ แต่ค าว่า “ลมกระโชก” ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายถึง ลมแรงที่เกิดในทันทีทันใดชั่วขณะหนึ่งหรือลมที่พัดแรงเป็นพัก Read More.

รู้ทันฟ้าฝน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บรรยากาศ

จากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในประเทศไทย ปี 2554 หลายคนคงรำพึงรำพันว่า เกิดมาเกือบทั้งชีวิตไม่เคยเห็นน้ำท่วมมากมายอย่างนี้มาก่อน ท้องถิ่นใดที่ไม่เคยท่วมก็ได้รับผลกระทบอย่างแสนสาหัส เหตุการณ์ครั้งนี้คงทำให้คนไทยเริ่มตระหนักแล้วว่า เราจะ นิ่งนอนใจกับภัยธรรมชาติไม่ได้อีกต่อไป

การนำโปรแกรม Stellarium มาใช้ประกอบการสอน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

เมื่อกล่าวถึงดาราศาสตร์ทุกคนคงทราบกันดีว่า เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงสิ่งที่อยู่ภายนอกโลก แต่น้อยคนนักจะทราบเชิงลึกลงไปในรายละเอียดว่าแท้จริงแล้วเราศึกษาอะไรบ้าง แม้ว่าการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ ในต่างประเทศจะเป็นที่นิยม   แต่กลับพบว่าในประเทศไทยยังมีผู้ที่ศึกษาทางด้านดาราศาสตร์อยู่น้อยคนนัก

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน