บทความ

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

การหาอายุทางธรณีวิทยาโดยวิธี Radiocarbon Dating ด้วย Carbon14

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ธรณีวิทยา, บทความ

อายุทางธรณีวิทยา หมายถึง อายุของแร่ ตะกอน หิน ซากดึกดาบรรพ์ รวมถึงลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และรวมถึงอายุของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางธรณีวิทยา อายุทางธรณีวิทนาแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ อายุเปรียบเทียบ (relative age) และอายุสัมบูรณ์ (absolute age)
อายุเปรียบเทียบ เป็นอายุที่ได้จากการศึกษาหลักฐานความสัมพันธ์ของชั้นหิน ชั้นตะกอน โครงสร้างของหินในภาคสนาม และซากดึกดาบรรพ์ในชั้นหิน แล้วนามาเปรียบเทียบว่าสิ่งไหนมีอายุมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน โดยอาศัยหลักการวางตัวซ้อนทับที่ว่าลาดับชั้นหินที่ไม่ถูกรบกวนจากกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลังนั้น หินที่วางตัวอยู่ด้านบนจะมีอายุน้อยกว่าชั้นหินที่วางตัวอยู่ด้านล่าง

เมฆและการเกิดเมฆ ตอนที่ 1

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่า เมฆบนท้องฟ้านั้นแค่ดูผิวเผินก็น่าสนใจแล้ว เพราะมีความแตกต่างทั้งรูปร่าง และสีสัน ซึ่งความแตกต่างเหล่านั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดเมฆ ดังจะกล่าวต่อไปนี้

มาหลบฝนกันเถอะ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

ถึงจะเลยหน้าฝนไปแล้วแต่หลาย ๆ ที่ของประเทศยังคงมีฝนตกอยู่ โดยเฉพาะทางภาคใต้ยังคงมีฝนตกในช่วงที่เกิดมรสุมกำลังแรงอยู่บ่อยครั้ง คงจะดีไม่น้อยหากเราสามารถทราบได้ว่าขณะนั้นมีกลุ่มของหยาดน้ำฟ้าปกคลุมบริเวณที่อยู่ของเราหรือไม่ และอาจคาดการณ์ได้ว่าแนวโน้มจะเป็นเช่นไร จะเคลื่อนผ่านไปเมื่อไร หรือจะตกอยู่เหนือบ้านเราเป็นเวลานาน ฝนจะตกหนักหรือแค่ปรอยๆ วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับเครื่องมือที่สามารถไขข้อข้องใจของเราได้ค่ะ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลของนาซาหาเป้าหมายที่เป็นไปได้ในแถบคอยเปอร์ สำหรับภารกิจของยานสำรวจอวกาศนิวฮอไรซันส์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

มันเป็นเหมือนการงมเข็มในมหาสมุทร เนื่องจากวัตถุหลีกเร้นเหล่านี้มีขนาดเล็กมาก จาง และยากที่จะเลือกออกมาจากดวงดาวในพื้นหลังที่มีมากมายมหาศาล

โดย สำนักงานใหญ่ขององค์การนาซา วอชิงตัน ดี ซี สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ บัลติมอร์ แมรีแลนด์ ตีพิมพ์เมื่อ 16 ตุลาคม 2557

ทำความรู้จักกับกาแล็กซีชนิดกังหัน

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

กาแล็กซีชนิดกังหัน (spiral galaxy) ซึ่งเป็นกาแล็กซีที่มีมากถึง 75% – 85% ในเอกภพ (universe) เป็นกาแล็กซีประเภทหนึ่งที่เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้ศึกษาและจัดกลุ่มเอาไว้ตามแผนภาพส้อมเสียงของฮับเบิล (Hubble tuning fork diagram) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1926 (ดูภาพ 1.) และแผนภาพดังกล่าวยังคงใช้กันเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าจะมีนักวิทยาศาสตร์หลายคนได้พยายามเพิ่มรายละเอียดประเภทของกาแล็กซีเข้าไปเพื่อให้สามารถตอบโจทย์กาแล็กซีที่พวกเขาพบ แต่โดยพื้นฐานแล้ววิธีจัดประเภทต่าง ๆ เหล่านั้นก็ยังคงอาศัยหลักการของฮับเบิลอยู่นั่นเอง

จำลองภาพวัตถุบนท้องฟ้าจากกล้องโทรทรรศน์

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ในปัจจุบันมีเว็บไซต์หลายเว็บไซต์ที่ให้บริการจำลองขนาดของภาพวัตถุบนท้องฟ้าที่เห็นจากกล้องโทรทรรศน์ โดยเว็บไซต์ที่จะแนะนำให้รู้จักที่นี้ มี URL http://www.12dstring.me.uk/foveyepiece.php#

เมฆและการเกิดเมฆ2

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

จากบทความเมฆและการเกิดเมฆตอนที่ 1 ได้ อธิบายเกี่ยวกับการเกิดเมฆเนื่องจากการยกตัวของอากาศเมื่อไม่มีแรงใด ๆ มากระทำซึ่งหมายถึงอากาศยกตั วขึ้นไปถึงระดั บควบแน่นได้ เนื่องจากได้รั บพลังงานความร้อน แต่ในบาง ครั้ งถ้าอากาศมีเสถียรภาพมากอาจพบเมฆน้อยมากในบริเวณนั้ น ๆ ยกเว้นมี แรงอื่นมาช่วย ส่งเสริมให้อากาศยกตัว ดังจะกล่าวต่อไปนี้

เอลนีโญ

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ บทความ, บรรยากาศ

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “เอลนีโญ” หลายคนอาจจะสงสัยว่าคืออะไร แล้วส่งผลอะไรกับเราบ้างเอลนีโญเป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติของอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของลมในบรรยากาศและการไหลเวียนของน้ำในมหาสมุทร เราสามารถอธิบายอย่างง่ายๆได้ดังต่อไป

แนะนำ NASA App

เขียนโดย earthscience เมื่อ . หัวข้อ ดาราศาสตร์, บทความ

ปัจจุบันมี application บนมือถือหรือ tablet ออกมามากมายที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่เราในการเรียนรู้วิทยาการในสาขาต่าง ๆ หนึ่งใน  application  นั้นเป็น application  ที่สามารถ download  มาใช้ได้ฟรี เป็น application Read More.

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้

  • เตรียมพบกับหนังสือเรียนวิทย์ ม.ปลาย ซีรี่ส์ใหม่ได้เร็ว ๆ นี้ !!!

  • กล้องโทรทรรศน์

        เรื่องราวของกล้องโทรทรรศน์เริ่มต้นจากช่างทำแว่นตาชาวดัตช์ ชื่อ ฮันซ์ ลิเปอร์ฮาย (Hans Lippershy) หรือที่รู้จักกันในนาม ฮานส์ ลิพเพอร์ซี โดยในวันหนึ่งเขาได้สังเกตเด็กสองคนในร้านของเขาหยิบเลนส์สองชิ้นขึ้นมาอยู่ในแนวเดียวกันทำให้เขาสังเกตเห็นวัตถุใกล้เข้ามา  เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงได้ลองนำเลนส์สองชิ้นมาติดบนปลายท่อทั้งสองด้านเมื่อมองผ่านเข้าไปในท่อจะทำให้มองเห็นสิ่งของที่อยู่ไกลได้ราวกับสิ่งของนั้นเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ เขาจึงตั้งชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)

ข่าว Update

  • การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

    การเรียนในห้องอาจจะเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจสำหรับนักเรียน หรือแม้กระทั้งผู้ที่สนใจ ถ้ามีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ จะสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้เลยจ้า การจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านธรณีวิทยาในวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

  • กลุ่มฝนกับเรดาร์ตรวจอากาศ

    จะเตรียมพร้อมรับมือในสถาพอากาศที่มีความเสี่ยงฝนตกได้อย่างไร ติดตามได้ใน การตรวจอากาศจากเรดาร์

  • การวัดแนวระดับและมุมเทด้วย application บน smart phone

    การสํารวจภาคสนามเป็นส่วนสําคัญในการศึกษาวิชาธรณีวิทยา เป็นการศึกษาที่ใช้การสังเกตและ
    รวบรวมข้อมูลในพื้นที่มาวิเคราะห์และแปลความหมายออกมาในรูปแบบของการทําแผนที่ธรณีวิทยาแผนที่
    ธรณีวิทยาจะประกอบด้วยข้อมูลการปรากฏของหินอายุของหินรูปแบบการวางตัวของหิน และโครงสร้างทาง
    ธรณีวิทยาที่พบในการสํารวจภาคสนามมีอุปกรณ์ที่จําเป็นมากมาย เช่น ค้อนธรณี เข็มทิศ จีพีเอส สมุดบันทึก
    กล้องถ่ายรูป เครื่องเขียน และขวดกรดอุปกรณ์ทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลาเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน